วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

โครงการ


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาฐานการเรียนรู้ออนไลน์ด้วย Blogger

วันที่  25 -26  กุมภาพันธ์  2558   

ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา  น่าน





รายการ ETV


แหล่งเรียนรู้ / ภูมิปัญญาท้องถิ่น


แหล่งเรียนรู้  / ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ตำบลนาปัง


นายเดช  ปันแก้ว
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านวรรณกรรม (ภาษาล้านนา,การอ่านค่าว,จ้อย,โคลง,กลอน)




แหล่งเรียนรู้  / ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ตำบลน้ำแก่น


ชื่อ – สกุลภูมิปัญญา
ที่อยู่ / สถานที่ติดต่อ
หลักสูตร /องค์ความรู้/
ความชำนาญ/ประสบการณ์
1. นายควง จันต๊ะขัน
หมู่ที่  2  บ้านน้ำแก่นกลาง
เกษตรทฤษฏีใหม่
2. นายศรีจันทร์ งานมูลเขียว
หมู่ที่  10  บ้านแก่นนคร
คำเมือง ค่าว จ๊อย
สู่ขวัญข้าว
3. นายศรีวิชัย  อินต๊ะวิชัย
หมู่ที่  10 บ้านแก่นนคร
สู่ขัวญ ส่งเคราะห์ รักษากระดูกหัก ช้น
4. นายบุญมี จักริลา
หมู่ที่  9  บ้านแก่นอุดร
สู่ขัวญ ส่งเคราะห์
5. ท่านพระครูโอภาส นันทสาร
วัดน้ำแก่นกลาง(วัดสว่างอรุณ)
คำเมือง บาลี ค่าว ชอ จอ๊ย




แหล่งเรียนรู้ ตำบลน้ำแก่น

ชื่อแหล่งเรียนรู้
ที่ตั้ง /สถานที่ติดต่อ
องค์ความรู้
1วัดสว่างอรุณ
-บ้านน้ำแก่นกลาง
คำเมือง ภาษาบาลี
2.ศูนย์เรียนรู้เกษตรพืชไร่
-บ้านน้ำแก่นกลาง
เกษตรทฤษฎีใหม่
3.ธูปสมุนไพร
-บ้านนาเหลืองม่วงขวา
การทำธูปไร่ยุง
4.ประวัติคำบลน้ำแก่น 10 หมู่บ้าน
บ้านแก่นนคร
ความเป็นมาของตำบลน้ำแก่น




                                    แหล่งเรียนรู้  ภูมิปัญญาท้องถิ่น  ตำบลน้ำเกี๋ยน

รายชื่อแหล่งเรียนรู้

ชื่อแหล่งเรียนรู้
ประเภทแหล่งเรียนรู้
ที่ตั้ง
กลุ่มชีววิถี
การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การผสม ผสานองค์ความรู้ภูมิปัญญาดั้งเดิม
130 บ้านใหม่พัฒนา หมู่ 4
ตำบลน้ำเกี๋ยน
วัดโป่งคำ
วัดโป่งคำ หมู่ที่ 4 ต.น้ำเกี๋ยน
การสำรวจและการค้นคว้าประวัติความเป็นมาของวัดโป่งคำ การปฎิบัติธรรมในวันสำคัญทางศาสนาศิลปวัฒนธรรม  ศิลปะวัตถุ
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 
หมู่ที่ 2 ต.น้ำเกี๋ยน
เศรษฐกิจพอเพียง
นิคมอาชีพ
บ้านน้ำเกี๋ยนใต้ หมู่ที่ 1 ต.น้ำเกี๋ยน
พัฒนาสังคมและชุมชน / พัฒนาอาชีพ /เศรษฐกิจพอเพียง/ทักษะการประกอบอาชีพ
สถาบันการเงิน  
ต.น้ำเกี๋ยน
การบริหารจัดการ
ศิลปินพื้นบ้าน (สะล้อ ซอ ซึง) 
บ้านน้ำเกี๋ยน ต.น้ำเกี๋ยน
ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี

    รายชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น

ชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความสามารถและประสบการณ์
ที่อยู่
1. นางระเบียบ   สารัตนะ 
องค์ความรู้ด้านหัตกรรมและศิลปประดิษฐ์
บ้านน้ำเกี๋ยนเหนือ หมู่ 2 ตำบลน้ำเกี๋ยน
2. นางพิกุล   ธนะวงค์
องค์ความรู้ด้านการจักสาน
บ้านต้นกอก หมู่ 3   ตำบลน้ำเกี๋ยน
3. นายอนันต์ นุเสน
องค์ความรู้ด้านหมอชาวบ้าน
บ้านน้ำเกี๋ยนเหนือ หมู่ที่ ตำบลน้ำเกี๋ยน
4. นายจรัส   ดีปินตา 
องค์ความรู้ด้านช่างฝีมือ การตีเหล็ก
บ้านน้ำเกี๋ยนเหนือ หมู่ ตำบลน้ำเกี๋ยน
5. นายชูศิลป์  สารรัตนะ
องค์ความรู้ด้านศิลปสถาปัตยกรรม
บ้านน้ำเกี๋ยนเหนือ หมู่ที่ ตำบลน้ำเกี๋ยน
6. นางคำ   ดีสีใส
องค์ความรู้ด้านการนวดแผนไทย การอบสมุนไพร   
บ้านต้นกอก หมู่ที่ 3ตำบลน้ำเกี๋ยน
7. นายเฉลียว  ดีพรมกุล
องค์ความรู้ด้านพิธีกรรม (หมอสู่ขวัญ)
บ้านน้ำเกี๋ยนใต้  หมู่ที่ ตำบลน้ำเกี๋ยน
8. นายภัทธาวุฒิ ธนะวงค์
องค์ความรู้ด้าน การแสดงพื้นบ้าน (สล้อ ซอ ปิน ฟ้อนดาบ)   
หมู่ที่ บ้านใหม่สันติสุข  ตำบลน้ำเกี๋ยน
        


วันอังคารที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

อาเซียน


                        อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตัวกันของ  10  ประเทศ   ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ผู้นำอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย  ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดตั้ง  ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)    คือ   เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้   มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย   มาเลเซีย และฟิลิปปินส์   ได้ร่วมกันจัดตั้ง   สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504   เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ  สังคมและวัฒนธรรม  แต่  ดำเนินการ ไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลง  เนื่องจากความผกผันทางการเมือง ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ
          จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง และสำเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปีนั้นเองจะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถเข้าไปทำงานในประเทศ  อื่น ๆ ในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี   เสมือนดังเป็นประเทศเดียวกัน
         ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานทำของคนไทย ควรทำความเข้าใจในเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคน




บุคลากร




บุคลากร


นายวิโรจน์  ใจบุญ
ผอ. กศน.อ.ภูเพียง


นางมยุรี  ลำน้อย
ครูอาสาฯ 
หัวหน้างานการศึกษาตามอัธยาศัย




นางประกายดาว  ศรีสายพงษ์
บรรณารักษ์อัตราจ้าง


ระเบียบการใช้บริการห้องสมุด



ระเบียบของห้องสมุด
การสมัครสมาชิกห้องสมุด
1. ติดต่อบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่                               
2. กรอกใบสมัครสมาชิกพร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้  
                   2.1 รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป  (ผู้ที่ยังไม่มีบัตรประจำตัวประชาชน)
2.1 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน  จำนวน 1 ชุด
2.2 สำเนาทะเบียนบ้าน จำนวน 1 ชุด
                        2.3 ค่าสมัครสมาชิก(ฟรี)                                                 
ระเบียบการยืม-คืน หนังสือและโสตทัศนวัสดุ
1. แสดงบัตรสมาชิกห้องสมุดประชาชนทุกครั้ง (ห้ามใช้บัตรสมาชิกผู้อื่น)
2. หนังสือยืมได้ไม่เกิน 4 เล่ม กำหนด 7 วัน        
             โสตทัศนวัสดุ  ยืมได้ไม่เกิน 3 ชื่อเรื่อง กำหนด 5 วัน                                                                  3. หนังสือ/โสตทัศนวัสดุ  เลขทะเบียนเดียวกัน ยืมติดต่อกันได้ 2 ครั้ง
4. หนังสือส่งคืนเกินกำหนดเสียค่าปรับเล่มละ 1 บาท/วัน     
สื่อโสตทัศนวัสดุ  เกินกำหนดเสียค่าปรับ ชื่อเรื่องละ 5 บาท/วัน
5. กรณีหนังสือ/ทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ ชำรุดหรือสูญหายต้องชดใช้ตามราคา
6. บัตรสมาชิกหายแจ้งบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุดเพื่อออกบัตรใหม่
ระเบียบการเข้าใช้บริการห้องสมุด
1. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย                                                                                                             2. เก็บสื่อและสิ่งพิมพ์เข้าที่เดิมทุกครั้งเมื่อเลิกใช้
3. การนำสื่อและสิ่งพิมพ์ออกนอกห้องสมุด  กรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่ทุกครั้ง
4. ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น
5. หากกระทำการใดๆ ก็ตามที่ทำให้ทรัพย์สินของห้องสมุดชำรุดหรือเสียหายต้องชดใช้                                      6. ไม่นำอาหาร  ขนมขบเคี้ยว เครื่องดื่มมารับประทานในห้องสมุด
7. ห้ามสูบบุหรี่ภายในห้องสมุด   
เวลาเปิดให้บริการ

ทุกวัน    08.30น. 16.30น.

ปิดบริการ

วันนักขัตฤกษ์   และวันหยุดชดเชยนักขัตฤกษ์

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน



                       กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ  5 ธันวา

 

 








                                                                         กิจกรรมวันเด็ก




ประวัติห้องสมุด


 สถานที่ตั้ง


281  หมู่ 2  ถนนพุทธบูชา  ตำบลฝายแก้ว  อำเภอภูเพียง  จังหวัดน่าน  รหัสไปรษณีย์  55000


ประวัติความเป็นมา

                ห้องสมุดประชาชนอำเภอภูเพียง ได้จัดตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ ในปี ๒๕๕๓  โดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภูเพียง ได้รับการจัดสรรงบประมาณไทยเข้มแข็ง (SP2) ดำเนินการก่อสร้างอาคารห้องสมุดประชาชนอำเภอภูเพียง ขึ้นในบริเวณข้างโรงเรียนบ้านท่าล้อ ถนนพุทธบูชา  ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง  จังหวัดน่าน  เพื่อใช้เป็นห้องสมุดประชาชนอำเภอภูเพียง และสำนักงานศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  ในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดน่าน  สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ  ตัวอาคารเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก  2 ชั้น   ด้านบนจัดตั้งเป็นสำนักงานศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย    และห้องทำงานของผู้อำนวยการ ด้านล่างจัดตั้งเป็นห้องสมุดประชาชนอำเภอเพียง  ได้เปิดให้บริการแก่ประชาชน เมื่อวันที่ ๑๘  มกราคม  พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน  โดยมีนายวิโรจน์  ใจบุญ  ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภูเพียง เป็นผู้บังคับบัญชา   และ นางประกายดาว ศรีสายพงษ์  เป็นบรรณารักษ์อัตราจ้าง เป็นผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด